กุ้งหลวงไคโตซานไคโตซาน สารส่งเสริมการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์

หน้าแรก » ธุรกิจ และ อุตสาหกรรม » ธุรกิจ และ อุตสาหกรรม อื่นๆ

กุ้งหลวงไคโตซานไคโตซาน สารส่งเสริมการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์




กุ้งหลวงไคโตซานช่วยลดต้นทุนได้อย่างไร

กุ้งหลวงไคโตซานมีองค์ประกอบของไนโตเจนอยู่ 7 – 10 เปอร์เซ็นต์ และมีคุณสมบัติอื่นๆ อีกมากมาย เช่นการดูดซึมสารอาหาร ปุ๋ย ยา เข้าสู่ต้นพืชรวดเร็วทำให้ลดการสูญเสีย และได้ประโยชน์มากขึ้น ช่วยตรึงปุ๋ย และปลดปล่อยอย่างช้าๆและต่อเนื่องทำให้พืชได้กินอย่างเต็มที่จึงลดการสิ้นเปลือง จากการทดลอง สามารถลดการใช้ลงได้ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ลดต้นทุนได้

ประโยชน์ของกุ้งหลวงไคโตซาน

1.กุ้งหลวงไคโตซานเป็นสารปรับสภาพดินและน้ำ
· กุ้งหลวงไคโตซานช่วยปรับสภาพน้ำให้มีความเป็นกลางและกำจัดสารแขวนลอยในน้ำเช่น ตะกอนดิน โลหะหนักชนิดต่างๆ เพื่อไม่ให้ไปปนเปื้อนกับยาฆ่าแมลง เป็นผลให้ย่าฆ่าแมลงออกฤทธิ์เร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพดีขึ้น
· กุ้งหลวงไคโตซานช่วยปรับสภาพดิน โดยเฉพาะที่มีการตกค้างของปุ๋ยเคมี มีผลทำให้ดินเป็นกรด ดินแน่น กุ้งหลวงไคโตซานช่วยปรับให้ดินเป็นกลาง ช่วยปลดปล่อยปุ๋ยที่ตกค้างนำมาใช้ได้
· ช่วยส่งเสริมจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดินให้เจริญเติบโตและแข็งแรง ช่วยเพิ่มความพรุนของดิน ช่วยในการซึมซับน้ำและควบคุมการชะล้างของดิน

2.กุ้งหลวงไคโตซานช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโตและปรับสมดุลย์
· ระบบราก ช่วยกระตุ้นให้พืชแตกรากใหม่ รากสมบูรณ์ ทำให้รากหาอาหารได้ดีขึ้น
· ลำต้น ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ช่วยให้เซลล์แข็งแรง ช่วยลดการอุดตันของท่อน้ำและท่ออาหาร ลำต้นแข็งแรง ถ้าเป็นข้าวจะไม่ล้มง่าย
· ใบกระตุ้นให้พืชสร้างลิกนิน แทนนิล และไคติเนส ทำให้ใบเขียวเข็ม เร็ว ใบหนา ใบตั้ง ต้านทานการทำลายของโรคและแมลงและทำให้ปรุงอาหารได้ดีขึ้น
· ดอกและผล ดอกจะสมบูรณ์ ติดผลดี ผลใหญ่ได้ขนาดน้ำหนักดี รสชาติดี

3.กุ้งหลวงไคโตซานยับยั้งและสร้างภูมิต้านทานโรค
กุ้งหลวงไคโตซาน จะกระตุ้นให้พืชสร้างระบบป้องกันตนเอง หรือสร้างภูมิต้านทานโรคให้กับต้นพืชได้ทั้งโรคที่สาเหตุมาจากเชื้อรา เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย โดยกุ้งหลวงไคโตซานจะซึมผ่านเข้าทางผิวใบ และลำต้น ช่วยยับยั้งการเกิดโรคพืช(ในกรณีเป็นโรคจะช่วยรักษาโรคพืช)
· เชื้อรา กุ้งหลวงไคโตซานมีประจุเป็นบวกที่สามารถซึมผ่านผนังเซลล์ของสปอร์ราได้ทำให้อากาศเข้าไปในสปอร์ทำให้เชื้อราฝ่อไม่สามารถเจริญเติบโตได้ และป้องกันไม่ให้ลามต่อไปได้
· แบคทีเรีย กุ้งหลวงไคโตซานจะไปยับยั้งการกินอาหารของแบคทีเรีย ทำให้เชื้ออ่อนแอ และตายในที่สุด

4.กุ้งหลวงไคโตซานสร้างความต้านทานแมลงศัตรูพืช
กุ้งหลวงไคโตซาน จะกระตุ้นให้พืชผลิตสารป้องกันตนเองมากขึ้นกว่าปรกติหลายสิบเท่า พืชจึงสามารถป้องกันตนเองจากการกัดดูด และทำลายของแมลงศัตรูพืช จะสังเกตเห็นได้ว่าพืชที่ได้รับสารกุ้งหลวงไคโตซาน จะมีลำตันแข็งแรง ใบหนาและตั้งมากขึ้น นอกจากนี้ยังกระตุ้นให้สร้างสารทำลายเปลือกไข่และตัวแมลงศัตรูพืช ทำให้แมลงศัตรูพืชตาย ไข่ฟ่อไม่สามารถเติบโตเป็นตัวอ่อนได้
5.กุ้งหลวงไคโตซานใช้เคลือบเมล็ดพันธุ์
กุ้งหลวงไคโตซานสามารถนำไปใช้เคลือบเมล็ดพันธุ์ สามารถป้องกันเชื้อรา แมลงที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์พืช ช่วยทำให้อัตราการงอก ดีขึ้น ทำให้ผลผลิตที่ได้เพิ่มขึ้น

6. กุ้งหลวงไคโตซานยืดอายุและรักษาคุณภาพผลผลิต
โดยการนำเอากุ้งหลวงไคโตซานไปเคลือบบนผิวของผักและผลไม้ จะมีลักษณะเป็นฟิล์มบางๆใสปราศจากสีและกลิ่น ช่วยลดการหายใจ การผลิตก๊าซเอธิลีน การคายน้ำ การรบกวนของแมลง เชื้อรา ทำให้อากาศเปลี่ยนแปลงภายในน้อย และผลผลิตจะทนทานต่อสภาวะกรดได้ดีขึ้น การเปลี่ยนแปลงสีจะช้าลง ทำให้ผลผลิตมีอายุเก็บได้นานขึ้นไม่เน่าเสียง่าย

7. กุ้งหลวงไคโตซานช่วยรักษาสภาพแวดล้อมและฟื้นฟูระบบนิเวศน์
เนื่องจากกุ้งหลวงไคโตซานย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ จึงมีความปลอดภัยสูง ไม่ตกค้างในผลผลิต สภาพแวดล้อม ผู้ผลิตและผู้บริโภคก็ปลอดภัย ระบบนิเวศน์จะกลับคืนมา เนื่องจากการ ใช้สารเคมี น้อยลง แมลงและสัตว์ที่เป็นประโยชน์ จะกลับมาช่วยเกษตรกรในการควบคุมแมลงศัตรูพืช


กุ้งหลวงไคโตซานกับการเกษตรด้านการควบคุมศัตรูพืช

1. กุ้งหลวงไคโตซานยับยั้งและสร้างความต้านทานโรคให้กับพืช
การยับยั้งเชื่อสาเหตุของโรคพืช ได้แก่ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย และเชื้อราบางชนิด โดยไคโตซานจะซึมผ่านเข้าทางผิวใบ ลำต้นพืช ช่วยยับยั้งการเกิดโรคพืชในกรณีที่เกิดเชื่อโรคพืชแล้ว (รักษาโรคพืช) และสร้างความต้านทานโรคให้กับพืชที่ไม่ติดเชื้อ โดยไคโตซานมีคุณสมบัติที่สามารถออกฤทธิ์เป็นตัวกระตุ้น (elicitor) ต่อพืชได้ จะกระตุ้นระบบป้องกันตัวเองของพืช ทำให้พืชผลิตเอนไซม์และสารเคมีเพื่อป้องกันตนเองหลายชนิด พืชจึงลดโอกาสที่จะถูกคุกคามโดยเชื่อสาเหตุโรคพืชได้

2. กุ้งหลวงไคโตซานทำให้เกิดโอกาสการสร้างความต้านทานของพืชต่อแมลงศัตรูพืช
กุ้งหลวงไคโตซานจะกระตุ้นให้มีการผลิตสารลิกนินและแทนนินของพืชมากขึ้น พืชสามารถป้องกันตัวเองจากการกัด – ดูด ทำลายของแมลงศัตรูพืช จะสังเกตว่าต้นพืชที่ได้รับสารไคโตซานจะมีแวกซ์เคลือบที่ผิวใบ ผิวใบจะมันเงา

3. กุ้งหลวงไคโตซานช่วยเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน
กุ้งหลวงไคโตซานไคโตซานสามารถส่งเสริมการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน ประโยชน์ในดิน เช่น เชื้อ Actiomycetes sp. Trichoderma spp. ทำให้เกิดการลดปริมาณของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรคพืช เช่น เชื้อ ( Furarium ) Phythophthora spp. ฯลฯ

รายชื่อศัตรูพืชที่มีการทดสอบแล้วว่ากุ้งหลวงไคโตซานมีศักยภาพในการควบคุม

1.การกระตุ้นให้พืชมีความต้านทานแมลงศัตรูพืช คือ หนอนใยผัก หนอนคืบและอื่น ๆ
การใช้การพ่นทางใบ ลำต้น (ขึ้นกับส่วนที่ศัตรูพืชอาศัยอยู่) อัตราการใช้ 10 – 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร)

2.การยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อสาเหตุโรคพืช
- ไวรัสโรคพืช
- แบคทีเรีย เช่น โรคแคงเกอร์ โรคใบจุด
- เชื้อรา เช่น เชื้อไฟทอปธอร่า พิเทียม ฟิวซาเรียม Botrytis cineres Rhizopus stolonifer
- แอนแทรคโนส เมลาโนส ราน้ำค้าง ใบติด ราขาว รากเน่า – โคนเน่า ใบจุด โรคใบสีส้ม ใบลาย





   
  


ราคา: 240 บาทต้องการ: ขาย
ติดต่อ: ทวีอีเมล์: 
โทรศัพย์: 0826174954IP Address: 61.19.65.184

คำค้น:  กุ้งหลวง | ไคโตซานไ | คโตซาน | สามารถส่งเสริมการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ | ไคโตซานกับการเกษตร ภาพนิ่ง |



ดูสินค้าอื่นๆ | ลงประกาศ | เลื่อนประกาศขึ้น | ลบประกาศ | แก้ไขประกาศ

[ รับจำนอง ขายฝาก บ้าน ที่ดิน ทั่วประเทศ กู้เงินง่าย ได้เงินไว ไม่เช็คแบล็คลิส ]





ประกาศอื่นๆในหมวดหมู่เดียวกัน 20 รายการ (แสดงทั้งหมด)

รูป   รายละเอียด ราคา
  2,390 บาท
  70,000
  9,999 บาท
  9,999 บาท
  2,480 บาท
  5,990 บาท
  690,000 บาท
  2,990 บาท
  4,480 บาท
  5,990 บาท
  100 บาท
  5,990 บาท
  2,480 บาท
  4,480 บาท
  2,480 บาท
  2,480 บาท
  4,480 บาท
  1,700,000 บาท
 
  5,990 บาท