กฎหมายสิทธิบัตร แนวความคิดและบทวิเคราะห์

หน้าแรก » หนังสือ » หนังสือ อื่นๆ

กฎหมายสิทธิบัตร แนวความคิดและบทวิเคราะห์




  กฎหมายสิทธิบัตร แนวความคิดและบทวิเคราะห์ 
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product_777814_th 

กฎหมายสิทธิบัตร แนวความคิดและบทวิเคราะห์ 
ผู้แต่ง : รองศาสตราจารย์ ดร.จักรกฤษณ์ ควรพจน์ 
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 3 : 2556 
จำนวนหน้า: 600 หน้า 
ISBN: 978616 
ขนาด : (มาตราฐาน) 18.5x26 
รูปแบบ : ปกอ่อน 

สารบัญ 

บทที่ 1 หลักการพื้นฐานของกฎหมายสิทธิบัตร 
1. ทรัพย์สินทางปัญญาคืออะไร 
2. ความแตกต่างระหว่างทรัพย์สินทางปัญญากับทรัพย์สินโดยทั่วไป 
3. ความหมายและลักษณะของสิทธิบัตร 
4. ความแตกต่างระหว่างสิทธิบัตรกับทรัพย์สินทางปัญญาอื่น 
• สิ่งที่คุ้มครองและเจตนารมณ์ของกฎหมาย 
• เงื่อนไขของการคุ้มครอง 
• วิธีการคุ้มครอง 
• อายุการคุ้มครอง 
• การละเมิดสิทธิ 
5. ความเป็นมาของระบบการคุ้มครองสิทธิบัตร 
6. ความมุ่งหมายของการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา 
• เจตนารมณ์ของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา 
 ทรัพย์สินทางปัญญากับการผูกขาดทางการค้า 
 ทรัพย์สินทางปัญญากับการรับรองสิทธิตามธรรมชาติของปัจเจกบุคคล 
 ทฤษฎีสิทธิตามธรรมชาติ (Natural Right Theory) 
 ทฤษฏีการให้รางวัล (Reward Theory) 
 ทรัพย์สินทางปัญญากับการเป็นเครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจ 
 ทฤษฎีการเป็นเครื่องจูงใจ (Incentive to Invent Theory) 
 ทฤษฎีการเปิดเผยข้อมูลความรู้ต่อสังคม (Disclosure of Information Theory) 
 ทฤษฎีการป้องกันการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมและการคุ้มครองผู้บริโภค (Prevention of Unfair Competition and Consumer Protection) 
• เจตนารมณ์ของกฎหมายสิทธิบัตร 
บทที่ 2 เงื่อนไขของการขอรับสิทธิบัตร 
1. เป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ 
• งานที่ปรากฏอยู่แล้ว 
 ประเภทของงานที่ปรากฏอยู่แล้ว 
 วิธีการทำให้ปรากฏต่อสาธารณชน 
 สถานที่ที่ทำให้ปรากฏต่อสาธารณชน 
 เวลาที่ทำให้ปรากฏต่อสาธารณชน 
• การกระทำที่ไม่ถือว่าเป็นการเป็นการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน 
• การพิจารณาความใหม่ของการประดิษฐ์ในกรณีพิเศษ 
 สิทธิบัตรในการเลือกสรร 
 สิทธิบัตรในกรรมวิธีการใช้วิธีใหม่ 
• การพิจารณาความใหม่ของการประดิษฐ์ในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ 
2. ขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น 
• หลักการพิจารณาขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้นตามกฎหมายอังกฤษ 
 ความหมายของผู้เชี่ยวชาญในวิทยาการแขนงนั้น 
 ความรู้ของบุคคลผู้เชี่ยวชาญในวิทยาการแขนงนั้น 
 การประดิษฐ์จะต้องมิใช่สิ่งที่ชัดแจ้งในขณะเวลาใด 
 ปัจจัยแวดล้อมที่ใช้ประกอบการพิจารณาขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น 
• หลักการพิจารณาขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขั้นตามกฎหมายไทย 
3. ความสามารถในการประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรม 
บทที่ 3 สิ่งที่ได้รับความคุ้มครอง 
1. ความหมายของการประดิษฐ์ 
• ความหมายของการประดิษฐ์ตามกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา 
• ความหมายของการประดิษฐ์ตามกฎหมายของสหภาพยุโรป 
• ความหมายของการประดิษฐ์ตามกฎหมายไทย 
2. สิ่งที่กฎหมายไม่ให้ความคุ้มครอง 
• การประดิษฐ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต 
 จุลชีพและส่วนหนึ่งส่วนใดของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติ 
 สัตว์และสารสกัดจากสัตว์ 
 พืชและสารสกัดจากพืช 
• กฎเกณฑ์และทฤษฏีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 
• ระบบข้อมูลการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
• วิธีการวินิจฉัย บำบัด หรือรักษาโรคมนุษย์หรือสัตว์ 
 เหตุผลของการไม่คุ้มครองกรรมวิธีทางการแพทย์ 
 ความหมายของกรรมวิธีทางการแพทย์ 
 กรรมวิธีในการวินิจฉัยโรคของมนุษย์หรือสัตว์ 
 กรรมวิธีทางอายุรกรรมและศัลยกรรม 
• การประดิษฐ์ที่ไม่สอดคล้องกับนโยบายสาธารณะหรือขัดต่อศีลธรรมอันดี 
บทที่ 4 สิทธิบัตรกับการคุ้มครองเทคโนโลยีชีวภาพ 
1. ความเป็นมาของการคุ้มครองเทคโนโลยีชีวภาพ 
2. ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการคุ้มครองเทคโนโลยีชีวภาพ 
3. ปัญหาการคุ้มครองพันธุ์พืช 
• วิวัฒนาการของกฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช 
• การคุ้มครองพันธุ์พืชตามพันธกรณีขององค์การการค้าโลก 
• กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชของประเทศไทย 
 เจตนารมณ์ของกฎหมาย 
 การคุ้มครองพันธ์พืชใหม่ 
 การคุ้มครองพันธ์พืชพื้นเมือง 
4. ปัญหาการคุ้มครองพันธุ์สัตว์ 
• กฎหมายสิทธิบัตรสหรัฐฯ เกี่ยวกับการคุ้มครองพันธุ์สัตว์ 
• อนุสัญญาสิทธิบัตรยุโรปเกี่ยวกับการคุ้มครองพันธุ์สัตว์ 
5. ปัญหาเกี่ยวกับการคุ้มครองจุลชีพ 
6. ปัญหาเกี่ยวกับการคุ้มครองกรรมวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพ 
• กรรมวิธีทางชีววิทยาที่จำเป็นสำหรับการผลิตพืชหรือสัตว์ 
• กรรมวิธีทางจุลชีววิทยา 
 ความหมายของกรรมวิธีทางจุลชีววิทยา 
 ขอบเขตของสิทธิตามสิทธิบัตรในกรรมวิธีทางจุลชีววิทยา 
บทที่ 5 สิทธิบัตรกับการคุ้มครองทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น 
1. ลักษณะและความสำคัญของทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น 
2. สถานภาพทางกฎหมายของทรัพยากรพันธุกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 
• ทรัพยากรพันธุกรรม 
• ภูมิปัญญาท้องถิ่น 
3. หลักการมรดกร่วมกันของมนุษยชาติ 
4. หลักการว่าด้วยสิทธิอธิปไตยของรัฐ 
• สิทธิอธิปไตยของรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศ 
 สิทธิอธิปไตยของรัฐตามกฎบัตรสหประชาชาติ 
 สิทธิอธิปไตยของรัฐตามข้อถือปฏิบัตินานาชาติ ว่าด้วยทรัพยากรพันธุกรรมพืช 
 สิทธิอธิปไตยของรัฐตามอนุสัญญา ว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ 
• สิทธิอธิปไตยของรัฐตามกฎหมายไทย 
 ไม้ 
 สัตว์ป่า 
 สัตว์น้ำ 
• บทวิเคราะห์ 
5. กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากับการปกป้องคุ้มครองทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น 
6. หลักการของกฎหมายลักษณะเฉพาะเพื่อการคุ้มครองทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น 
• ความจำเป็นต่อการจัดทำกฎหมายลักษณะเฉพาะ 
• เจตนารมณ์ของกฎหมายลักษณะเฉพาะ 
• ผู้ที่อาจอ้างสิทธิในทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น 
• หลักเกณฑ์และวิธีการคุ้มครอง 
 หลักเกณฑ์การคุ้มครองสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติ 
 หลักเกณฑ์การคุ้มครองสิ่งที่ได้มีการใช้ประโยชน์แล้ว 
• แนวทางการป้องกันมิให้มีการฉกฉวยเอาภูมิปัญญาท้องถิ่นไปจดทะเบียนสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา 
บทที่ 6 การได้มาซึ่งสิทธิบัตรและอายุการคุ้มครอง 
1. การได้มาซึ่งสิทธิบัตร 
• ประเภทของคำขอรับสิทธิบัตร 
• ผู้มีสิทธิขอรับสิทธิบัตร 
• เอกสารประกอบการขอรับสิทธิบัตร 
• ขั้นตอนการออกสิทธิบัตร 
2. อายุการคุ้มครอง 
• อายุสิทธิบัตรที่เหมาะสมควรมีกำหนดใด 
• การชำระค่าธรรมเนียมรายปี 
• กำหนดเวลาการคุ้มครองผลิตภัณฑ์ยา 
บทที่ 7 การคุ้มครองสิทธิบัตรระหว่างประเทศ 
1. หลักดินแดนของสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา 
2. การคุ้มครองสิทธิบัตรภายใต้อนุสัญญากรุงปารีส 
• หลักการสำคัญของอนุสัญญากรุงปารีส 
 หลักการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ 
 หลักการให้สิทธิที่จะขอรับความคุ้มครองก่อน 
 หลักความเป็นอิสระของสิทธิบัตร 
 หลักการบังคับให้มีการนำสิทธิบัตรไปใช้งานภายในประเทศ 
• ประเทศไทยกับอนุสัญญากรุงปารีส 
3. การคุ้มครองสิทธิบัตรภายใต้องค์การการค้าโลก 
4. ความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับการออกสิทธิบัตร 
• สนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางสิทธิบัตร 
• อนุสัญญาสิทธิบัตรยุโรป 
บทที่ 8 สิทธิบัตรกับการค้าระหว่างประเทศ 
1. ความเป็นมาของการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาระหว่างประเทศ 
• ความสัมพันธ์ระหว่างสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญากับการค้าระหว่างประเทศ 
• เวทีเจรจาปัญหาการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา 
• ปัญหาการคุ้มครองสิทธิบัตรในการเจรจาการค้ารอบอุรุกวัย 
 ขอบเขตและความครอบคลุมของการคุ้มครองสิทธิบัตร 
 ระยะเวลาของการคุ้มครองสิทธิบัตร 
 การใช้มาตรการบังคับใช้สิทธิบัตร 
2. กฎหมายการค้าของสหรัฐฯกับการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา 
• สิทธิพิเศษทางการค้าภายใต้ระบบจีเอสพี 
 ความเป็นมาของจีเอสพี 
 สิทธิพิเศษทางการค้าของสหรัฐฯ 
 ข้อคิดเกี่ยวกับจีเอสพี 
• กฎหมายพิเศษของสหรัฐฯ ที่เกี่ยวกับปัญหาการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา 
 มาตรา 301 ของกฎหมายการค้าปี ค.ศ.1988 
 Special 301 
3. กรณีความขัดแย้งไทย-สหรัฐฯ ในปัญหาการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา 
4. บทวิจารณ์ 
บทที่ 9 การละเมิดสิทธิบัตร 
1. การกำหนดสิทธิตามสิทธิบัตร 
2. ลักษณะของสิทธิตามสิทธิบัตร 
• สิทธิตามสิทธิบัตรในผลิตภัณฑ์ 
 การผลิตผลิตภัณฑ์ 
 การใช้ผลิตภัณฑ์ 
 การขายผลิตภัณฑ์ 
 การมีไว้เพื่อขาย 
 การเสนอขายผลิตภัณฑ์ 
 การนำเข้าผลิตภัณฑ์ 
• สิทธิตามสิทธิบัตรในกรรมวิธี 
 สิทธิเหนือกรรมวิธีตามสิทธิบัตร 
 สิทธิเหนือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยใช้กรรมวิธีตามสิทธิบัตร 
3. ข้อยกเว้นการละเมิดสิทธิบัตร 
• การกระทำเพื่อการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง หรือวิจารณ์ 
• การกระทำของผู้ที่ใช้การประดิษฐ์อยู่ก่อน 
• การเตรียมยาเฉพาะรายตามใบสั่งแพทย์ 
• การขอขึ้นทะเบียนยา 
• การใช้อุปกรณ์ของเรือ อากาศยาน หรือยานพาหนะ ที่เข้าในประเทศไทยเป็นการชั่วคราวหรือโดยอุบัติเหตุ 
• การระงับสิ้นไปของสิทธิตามสิทธิบัตร 
บทที่ 10 การระงับสิ้นไปของสิทธิตามสิทธิบัตร 
1. การนำเข้าซ้อน 
2. หลักว่าด้วยการระงับสิ้นไปของสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา 
3. หลักการระงับสิ้นไปของสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญากับการเคลื่อนย้ายโดยเสรีของสินค้าในสหภาพยุโรป 
• นโยบายการค้าเสรีของสหภาพยุโรป 
• สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญากับการค้าเสรี 
• การระงับสิ้นไปของสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาตามกฎหมายสหภาพยุโรป 
• ตัวอย่างของการใช้หลักการระงับสิ้นไปของสิทธิบัตรในตลาดร่วมยุโรป 
บทที่ 11 การควบคุมการใช้สิทธิบัตรโดยมิชอบ 
1. ผลกระทบในแง่ลบของการใช้สิทธิบัตรโดยมิชอบ 
• การทำความตกลงเกี่ยวกับสิทธิบัตรในแนวกว้าง 
• การทำความตกลงเกี่ยวกับสิทธิบัตรในแนวลึก 
 ข้อสัญญาถ่ายทอดกลับ (grant-back provisions) 
 ข้อสัญญาจำกัดการส่งออก (export restrictions) 
 ข้อสัญญาผูกมัด (tying clause) 
 ข้อสัญญากำหนดราคาสินค้า (price-fixing) 
2. กฎหมายควบคุมการใช้สิทธิบัตรโดยมิชอบ 
• กฎหมายป้องกันการผูกขาด 
• กฎหมายเกี่ยวกับการถ่ายทอดเทคโนโลยี 
• ข้อแตกต่างระหว่างกฎหมายป้องกันการผูกขาดและกฎหมายเกี่ยวกับการถ่ายทอดเทคโนโลยี 
3. บทสรุปและความเกี่ยวพันที่มีต่อกฎหมายไทย 
บทที่ 12 บทบาทของกฎหมายสิทธิบัตรในการพัฒนา 
1. กฎหมายสิทธิบัตรกับการประดิษฐ์คิดค้นภายในประเทศ 
2. กฎหมายสิทธิบัตรกับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากต่างประเทศ 
• การถ่ายทอดเทคโนโลยีผ่านข้อมูลสิทธิบัตร 
• การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยการทำสัญญา 
3. กฎหมายสิทธิบัตรกับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ 
ภาคผนวก 
1. Paris Convention for the Protection of Industrial Property, 1883 
2. พ.ร.บ.สิทธิบัตร พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.สิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง 
3. Agreement on trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights, 1993 
4. UK Patents Act; European Patent Convention (Excerpts) 
บรรณานุกรม 


ราคา 450 บาท 


ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product_777814_th 


เว็บไซต์ http://www.Attorney285.com 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 
อีเมล [email protected] 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน 10.00-19.30 น.) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (24 ชม.ทุกวัน) 
LINE ID : attorney285 
WhatsApp : 0867748337 
โทรสาร 02-903-0080 ต่อ 1555 
ร้านตั้งอยู่ เลขที่ 2100/24 ซ.รามคำแหง 24/2 (ซ.พนาสิน 2) แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 
จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)


 


ราคา: ต้องการ: ขาย
ติดต่อ: Attorney285.comอีเมล์: 
โทรศัพย์: 0867748337IP Address: 110.168.117.103
มือถือ:  จังหวัด: กรุงเทพมหานคร
เลขบัตรประชาชน: 1709900121XXX

คำค้น:  กฎหมายสิทธิบัตร แนวความคิดและบทวิเคราะห์ |



ดูสินค้าอื่นๆ | ลงประกาศ | เลื่อนประกาศขึ้น | ลบประกาศ | แก้ไขประกาศ

[ รับจำนอง ขายฝาก บ้าน ที่ดิน ทั่วประเทศ กู้เงินง่าย ได้เงินไว ไม่เช็คแบล็คลิส ]





ประกาศอื่นๆในหมวดหมู่เดียวกัน 20 รายการ (แสดงทั้งหมด)

รูป   รายละเอียด ราคา
  ไม่ระบุ
  ไม่ระบุ
  4,000
  800 บาท
  ไม่ระบุ
  50 บาท
  4,000
  1,000
  ไม่ระบุ
  40 บาท
  3 บาท
  15 บาท
  19 บาท
  ไม่ระบุ
  99 บาท
  170 บาท
  1,100
  612 บาท
  ไม่ระบุ
  4 บาท