Chitin Diet Capsule (ลดความอ้วนแบบใหม่ สูตร DETOX)

หน้าแรก » อาหาร และ สุขภาพ » อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ

Chitin Diet Capsule (ลดความอ้วนแบบใหม่ สูตร DETOX)




ชื่อเครื่องสำอาง : Chitin Diet Capsule คุณสมบัติ: 

โดดเด่นด้วยคุณสมบัติ 3 ประการ ดังนี้คือ 

ประการที่ 1 95% ช่วยในการควบคุมน้ำหนัก ลดการเกิด yoyo effect 

ประการที่ 2 98% ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งจากการสัมผัสหรือรับโลหะหนัก เช่นตะกั่วเข้าสู่ร่างกาย 

ประการที่ 3 90% ช่วยให้ผิวพรรณละเอียด เนียนเรียบ นุ่มนวล น่าสัมผัส เนื่องจากการดีท็อกซ์ของเสีย หรือส่วนเกินออกจากร่างกาย


ระยะเวลาการเห็นผล: ช่วยในการลด และควบคุมน้ำหนักได้เป็นอย่างดี ปลอดภัยสูงสุดในปัจจุบัน ด้วยกลไกการดักจับไขมันอันมหัศจรรย์ เหมาะอย่างยิ่งกับผู้ที่ต้องการรักษาสุขภาพ และควบคุมน้ำหนัก หรือแม้แต่ผู้ที่ผ่านการลดน้ำหนักด้วยยาและต้องการป้องกันปัญหา yoyo effect ทานได้นานโดยไม่มีผลข้างเคียงต่อร่างกาย ทั้งยังก่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายอีกด้วย การรับประทาน : รับประทานเป็นประจำ ก่อนอาหารทุกมื้อ 15 นาที ครั้งละ 1 เม็ด แล้วดื่มน้ำตาม 1-2 แก้ว

 องค์ประกอบสำคัญ :                                                                 
1.สารสำคัญ ( Active Ingredients): ส่วนประกอบ ขนาด 1 เม็ด 500 มก. ประกอบด้วย ไคติน ไคโตซาน บริสุทธิ์ ที่สกัดจากเปลือกปูอลาสก้า ที่เลี้ยงจากฟาร์มออแกนิคส์ 

+++++ไคติน ไคโตซาน นวัตกรรมการลดน้ำหนักแนวใหม่ปลอดภัยและดีต่อสุขภาพ+++++++ 

เรามารู้จัก "ไคติน" กันเถอะ ไคติน เป็นพอลิเมอร์ชีวภาพที่มีมากเป็นอันดับสองของโลก ซึ่งพบได้จาก
ธรรมชาติ คือจะพบในรูปของสารประกอบเชิงซ้อน ไคติน-โปรตีน (ในเปลือกของแมลง) ซึ่งนอกจากจะพบได้ในเปลือกกุ้งและปูแล้วนั้นยังมีมากในเปลือกหุ้มของแพลงก์ตอน ผนังเซลล์ ของสาหร่าย ยีสต์ และเห็ดรา เปลือกแมลง แกนของปลาหมึก แมงกระพรุน หรือดาวทะเล ไคติน-ไคโตซาน มีประโยชน์อะไรบ้าง **ในทางการแพทย์** ไคตินสุดไม่ก่อให้เกิดการต่อต้านจากร่างกาย ไม่มีผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายทั้งยังช่วยส่งเสริมการเจริญของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อคนอีก ไคติน-ไคโตซานก็เลยได้รับความสนใจเป็นอย่างมากที่จะได้รับการพัฒนาไปใช้ในทางการแพทย์อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ส่งเสริมการเจริญของแบคทีเรียในลำไส้ที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพ ต่อต้านมะเร็ง ช่วยลดสารพิษและยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย ที่เป็นอันตรายอย่างเชื้อซัลโมเนลลา เนื่องจาก ไคติน-ไคโตซานเป็นสารที่ได้จากธรรมชาติ สามารถเข้าได้กับร่างกายมนุษย์ จากการศึกษาในต่างประเทศ พบว่าสามารถย่อยสลาย ได้ภายในร่างกาย เนื่องจากมีเอนไซม์หลายชนิดสามารถย่อยสลายได้ นอกจากนี้ ตัวไคติน-ไคโตซานยังสามารถยับยั้งการเจริญของจุลชีพบางชนิดด้วย จากข้อดีต่างๆ นี้เอง ไคติน-ไคโตซาน จึงถูกนำมาใช้งานทางการแพทย์ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ -Wound-healing ointments -Surgical sutures -Orthopaedics -Drug delivery vehicles -Anticholesterol and fat bindings -Skin treatments -Wound dressings -Dentistry -Tranportation of cells -Ophthalmology แคปซูลบรรจุยา ใช้เป็นสารป้องกันการตกตะกอนของเลือด ใช้เป็นตัวจับและตกตะกอนเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว ผลิตผนังเทียม เช่นผนังไต ใช้เป็นสารลดโคลเลสเตอรอล ในร่างกาย ไคติน ไคโตซาน นวัตกรรมการลดน้ำหนักแนวใหม่ปลอดภัยและดีต่อสุขภาพ **ไคติน-ไคโตซาน 

** สารมหัศจรรย์จากธรรมชาติ เมื่อพูดถึงไคติน สิ่งที่คุณผู้อ่านนึกถึงเป็นอันดับแรกๆ ก็คือความอ้วน และเชื่อว่าคุณผู้หญิงและคุณผู้ชายที่มีหุ่นตุ้ยนุ้ยจนละม้ายคล้ายโอ่งมังกรหลายๆ คนคงเคยลองใช้ผลิตภัณฑ์ไคติน-ไคโตซานมาแล้ว นอกจากจะช่วยควบคุมน้ำหนักแล้ว ไคตินยังมีสรรพคุณอีกสารพัดสารเพที่เรียกได้ว่าแทบจะบรรยายไม่หมดเลยทีเดียว ทั้งดักจับคราบไขมันและโลหะหนัก เป็นอาหารเสริมสุขภาพ ด้วยคุณสมบัติที่ไม่ละลายน้ำ และอุ้มความชื้นได้ดีจึงพัฒนานำมาทำผลิตภัณฑ์อาหารเสริม ไคติน-ไคโตซานสามารถลดความอ้วน ได้ดีสุดยอดอย่างที่เราไม่อยากจะเชื่อ เมื่อไคตินนั้นได้กลายเป็นไคโตซานแล้ว ประจุบวกอันมหาศาลของไคโตซาน จะเป็นที่ดึงดูดใจมากของเหล่ากรดไขมันอิสระ และคอเลสเทอรอลที่มีประจุลบ ดังนั้นเจ้าตัวต้นเหตุของความอ้วน ทั้ง 2 ตัว ก็จะเกาะติดแจกับไคโตซาน และคนไม่สามารถย่อยไคติน-ไคโตซานได้ทั้งหมดจึงถูกขับออกมาพร้อม กับอุจจาระโดยที่มีคอเลสเทอรอลและไขมันส่วนเกินตามออกมาด้วย ไคติน – ไคโตซาน คืออะไร ไคตินเป็นพอลิเมอร์ชีวภาพชนิดหนึ่งที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อ เป็นองค์ประกอบในโครงสร้างต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตมากมายหลายชนิด ไคตินเป็นพอลิเมอร์ชีวภาพที่มีมากเป็นอันดับสองของโลก และเนื่องจากไคตินเป็นพอลิเมอร์ที่พบในธรรมชาติ เราจึงมักพบไคตินในรูป สารประกอบเชิงซ้อนที่อยู่รวมกับสารอื่นๆ ไคตินเป็นสารประกอบพวกคาร์โบไฮเดรตเช่นเดียวกับเซลลูโลสและแป้ง รูปร่างของไคตินจะเป็นเส้นสายยาวๆ มีลักษณะคล้ายลูกประคำที่ประกอบขึ้นมาจาก น้ำตาลโมเลกุลเล็กๆ ที่มีชื่อว่า เอ็น-อะซิทิลกลูโคซามีน(N-acetylglucosamine) ไคติน-ไคโตซาน ดาวรุ่งพุ่งแรง เมื่อพูดถึงไคติน อีกคำที่มักจะพ่วงมาด้วยคือ ไคโตซาน ไคโตซานคืออนุพันธ์ตัวหนึ่งของไคติน รูปร่างหน้าตาของมันก็จะละม้ายคล้ายกับไคติน ไคโตซานจะได้จากปฏิกิริยาการดึงส่วนที่เรียกว่า หมู่อะซิทิล (acetyl group) ของไคตินออกไป เรียกว่า ปฏิกิริยาดีอะซิทิเลชัน (deacetylation) ทำให้จากเดิมโมเลกุลเดี่ยวของไคตินที่เคยเป็นเอ็น-อะซิทิลกลูโคซามีน ถูกแปลงโฉมใหม่เหลือแค่ กลูโคซามีน (glucosamine) เท่านั้น จากที่เคยเรียกว่าไคตินก็เลยเปลี่ยนชื่อเป็นไคโตซาน การหายไปของหมู่อะซิทิล ทำให้ไคโตซานมีส่วนของโมเลกุลที่แอคทีฟ และพร้อมที่จะทำ ปฏิกิริยาอย่างว่องไวอยู่หลายหมู่ หมู่ที่เด่นๆ เลยก็คือ หมู่อะมิโน (-NH2) ตรงคาร์บอนตัวที่ 2 หมู่แอลกอฮอล์ (CH2OH) ตรงคาร์บอนตัวที่ 6 และหมู่แอลกอฮอล์ที่คาร์บอนตัวที่ 3 และเพราะหมู่ที่อยากทำปฏิกิริยานี้เองที่ทำให้ไคโตซานมีโอกาสได้ฉายแววรุ่งโรจน์ในหลายๆ วงการ ไคติน-ไคโตซานทำงานได้อย่างไร 

**ช่วยลดน้ำหนัก ** ประจุบวกของไคโตซานจะดักจับกรดไขมันอิสระ และคอเลสเตอรอลที่มีประจุลบและจะถูก ขับถ่ายออกมาพร้อมกับไขมันส่วนเกินด้วย บริษัทในประเทศเยอรมนี และบริษัทญี่ปุ่นได้ใช้สารไคโตซานเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ลดน้ำหนัก หรือเรียกกันว่ากลุ่ม Dietary กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากไม่มีผลข้างเคียงใดๆ ทั้งสิ้น ไม่มีปัญหาเรื่อง yayo effect ตามมาเหมือนตัวอื่น ทั้งยังเป็นอาหารเสริมเพื่อสุขภาพในตัวด้วยไคโตซานคือสุดยอดนวัตกรรมที่เกิด มาจากเทคโนโลยีการลดน้ำหนัก ด้วยไคโตซานยังมีความสามารถในการจับกับอะตอมของ โลหะหนัก จึงลดโอกาสการเกิดมะเร็ง ส่วนการจับกับไขมันนั้น กลไกการจับก็คล้ายๆ กับการจับโลหะหนักในร่างกาย ซึ่งประสิทธิภาพการจับกับไขมันในทางเดินอาหาร ก็ดีเยี่ยมเช่นกัน ขนาดรับประทาน: การกำหนดขนาดรับประทาน หรือปริมาณที่แนะนำต่อวัน (RDA) ของไคโตซานอ้างอิงจากการศึกษา หลายกรณีชี้ให้เห็นว่าไคโตซาน 8 กรัม (ไคโตซานแคปซูลขนาด 250 มิลลิกรัมจำนวน 6 เม็ดต่อวัน หรือขนาดแคปซูลละ 500 มิลลิกรัมจำนวน 3 เม็ดต่อวัน) จะสามารถดูดซับไขมันได้ 10 กรัม และกำจัดออกจากร่างกายไปกับของเสีย (21) นั่นคือ ทาก่อนอาหาร 15 นาที มื้อละ 1 เม็ด แล้วดื่มน้ำตามมากๆ ประมาณ 2 แก้ว 

***ข้อควรระวัง*** ไคติน-ไคโตซาน เป็นสารที่มีมนุษย์เราสามารถนำมาประยุกต์เพื่อใช้ประโยชน์หลากหลาย แต่ในส่วนของ การนำมารับประทานเพื่อเป็นอาหารเสริมลดความอ้วนนั้น มีข้อควรระวังในกรณีที่รับประทานเข้าไปแล้วอาจ เกิดอาการอาหารไม่ย่อย ควรดื่มน้ำตามเข้าไปมาก ๆ อาการจะดีขึ้น และไม่เหมาะสำหรับผู้ที่แพ้พวกอาหารทะเล หญิงมีครรภ์ หรือหญิงที่ให้นมบุตรไม่ควรจะบริโภค **ผลข้างเคียง** จนถึงปัจจุบันนี้ก็ยังไม่ปรากฎรายงานถึงปัญหาร้ายแรงของการใช้ไคโตซานแต่อย่างใด นอกจากนี้การศึกษาด้านพิษวิทยาของไคโตซานยังพบว่าไคโตซานมีความเป็นพิษต่ำอีกด้วย (11, 23) ปฎิกริยากับสารอื่น: ฤทธิ์ในการขับไขมันออกจากร่างกายของไคโตซานจะเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อใช้ร่วมกับวิตามินซี (2, 4)

 เอกสารอ้างอิง: 1. Deuchi K., Kanauchi O., Imasato Y., and Kobayashi E. Decreasing Effect of Chitosan on the Apparent Fat Digestibility    by Rats Fed on a High-fat Diet. Biosci. Biotech. Biochem., 58(9), 1994: 1613-1616. 2. Kanauchi O., Deuchi K., Imasato Y., and Kobayashi E. Increasing Effect of a Chitosan and Ascorbic Acid Mixture on    Fecal Dietary Fat Excretion. Biosci. Biotech. Biochem., 58(9), 1994: 1617-1620. 3. Deuchi K., Kanauchi O., Imasato Y., and Kobayashi E. Effect of the Viscosity or Deacetylation Degree of Chitosan on    Fecal Fat Excreted from Rats Fed on High-fat Diet. Biosci. Biotech. Biochem., 59(5), 1995: 781-785. 4. Kanauchi O., et.al. Mechanism for the Inhibition of Fat Digestion by Chitosan and for the Synergistic Effect of Ascorbate.    Biosci. Biotech. Biochem., 59(5), 1995: 786-790. 5. Deuchi K., Kanauchi O., Shizukuishi M., Kobayashi E. Continuous and Massive Intake of Chitosan Affects Mineral and    Fat-soluble Vitamin Status in Rats Fed on a High-fat Diet. Biosci. Biotech. Biochem., 59(7), 1995: 1211-1216. 6. Knorr D. Functional Properties of Chitin and Chitosan. J. Food. Sci., Vol.47, 1982: 593-595. 7. LEHOUX J. and Gordin F. Some Effects of Chitosan on Liver Function in the Rat. Endocrinology., Vol.132 No.3, 1993: 1078-1084. 8. Okuyama K., Noguchi K. and Miyazawa T. Molecular and Crystal Structure of Hydrated Chitosan. Macromolecules,    30; 1997: 5849-5855. 9. Ikeda I, Tomari Y., and Sugano M. Interrelated Effects of Dietary Fiber and Fat on Lymphatic Cholesterol and Triglyceride    Absorption in Rat. J. Nutr. 119; 1989: 1383-1387. 10. Knorr D. Dye Binding Properties of Chitin and Chitosan. J. Food Sci., Vol.48, 1983: 36, 37, 41. 11. Knorr D. Functional Properties of Chitin and Chitosan. J. Food Sci., Vol. 47, 1982: 593-595. 12. Ebihara K. and Schneeman B. O. Interaction of Bile Acids, Phospholipids, Cholesterol and Triglyceride with Dietary Fiber       in the Small Intestine of Rate. J. Nutr., Vol.119, 1989: 1100-1106. 13. Vahouny G. V. et.al. Comparative effects of chitosan and cholestyramine on lymphatic absorption of lipids in the rat.       J. Clin. Nutr., Vol. 38, 1983: 278-284. 14. Vahouny G. V. et.al. Dietary Fiber and intestinal adaptation: effects on lipid absorption and lymphatic transport in the rat.       J. Clin. Nutr., Vol. 47, 1988: 201-6. 15. Razdan A. and Pettersson D. Effect of chitin and chitosan on nutrient digestibility and plasma lipid concentration in broiler chickens.       J. Nutrition, Vol.72, 1994: 277-288. 16. Razdan A. and Pettersson D. Hypolipidaemic, gastrointestinal and related responses of broiler chickens to chitosans of       different viscosity. J. Nutrition, Vol. 76, 1996: 387-397. 17. Razdan A., Pettersson D. and Pettersson J. Broiler chicken body weights, feed intakes, plasma lipid and small-intestinal bile acid concentrations in response to feeding of chitosan and pectin. J. Nutrition., Vol. 78, 1997: 283-291. 18. Sugano M. et.al. Anovel use of chitosan as a hypocholesterolemic agent in rats. Am J. Clin. Nutr., Vol. 33, 1980: 787-793. 19. Stasse-Wolthuis M. et.al. Influence of dietary fiber from vegetables and fruits, bran or citrus pectin on serum lipids, fecal lipids,       and colonic function. Am J. Clin. Nutr., Vol. 33, 1980: 1745-1756. 20. Kay R. M. and Truswell A. S. Effect of citrus pectin on blood lipids and fecal steroid excretion in man. J. Clin. Nutr., Vol. 30, 1977:171-175. 21. Chitosan. In: Clinical Studies Compendium. 22. Fabulous Fiber In: In The Kitchen, Energy Times. June 1998: 20. 23. Arai K., Kinumaki T., and Fugita T. On the toxicity of chitosan. Bull. Toka Regional Fisheries Res. Lab.No.56, 1968: 89. 24. Shepherd R., Reader S. and Falshaw A. Chitosan functional properties. Glycoconj J. Jun 1997; 14(4): 535-42. 25. Han L.K., Kimura Y. and Okuda H. Reduction of fat storage during chitin-chitosan treatment in mice fed a high-fat diet. Biosci       Biotechnol Biochem. Feb 1999; 23(2): 174-9. 26. Lee J.K., Kim Su and Kim J.H. Modification of chitosan to improve its hypocholesterolemic capacity. Biosci Biotechnol Biochem.       May 1999; 63(5): 833-9. 27. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ --Beauty Tip-- ข้อดีของยาเม็ดบรรจุแคปซูล คือสามารถกันความชื้นได้ ซึ่งจะมีผลให้ประสิทธิภาพของสารอาหารคงอยู่ ไม่เปลี่ยนสภาพได้ง่าย เนื่องจากไม่สัมผัสกับอากาศโดยตรง ซึ่งผลิตภัณฑ์ของเรายังบรรจุใน บรรจุภัณฑ์ 2 ชั้นคือ ในซองฟอยด์กันชื้น และกระปุกพลาสติก อีกชั้น ผลิตภัณฑ์ของเราผลิต จากวัตถุดิบคัดสรร และนำเข้าจากญี่ปุ่น ด้วยเทคโนโลยีระดับสูง เป็นแกรนูลพิเศษ สามารถซึมเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายทำให้ร่างการสามารถใช้ประโยชน์สารอาหารได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ  ** ทางเราจะทำการ แนบเอกสาร อย. ของบริษัท กับทุก ออเดอร์ที่สั่งซื้อ ** ดูรายละเอียดเพิ่มเติม.. http://www.marketathome.com/shop/lacare


ราคา: 1,150ต้องการ: ขาย
ติดต่อ: lacareอีเมล์: 
โทรศัพย์: 0834822036IP Address: 61.7.168.4
มือถือ: 0834822036 จังหวัด: เชียงใหม่

คำค้น:  J Chitin Chitosan impact เท่าไหร่ |



ดูสินค้าอื่นๆ | ลงประกาศ | เลื่อนประกาศขึ้น | ลบประกาศ | แก้ไขประกาศ

[ รับจำนอง ขายฝาก บ้าน ที่ดิน ทั่วประเทศ กู้เงินง่าย ได้เงินไว ไม่เช็คแบล็คลิส ]





ประกาศอื่นๆในหมวดหมู่เดียวกัน 20 รายการ (แสดงทั้งหมด)

รูป   รายละเอียด ราคา
  350 บาท
  350 บาท
  550 บาท
  950 บาท
  370
 
  185 บาท
  350 บาท
  790 บาท
  400 บาท
 
  350 บาท
  350 บาท
  120 บาท
  180 บาท
  0 บาท
  0 บาท
  0 บาท
  0 บาท
  380 บาท